หน้าแรก
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ /พันธกิจ
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ภารกิจหน้าที่ของอบต.
ประเพณีวัฒนธรรม
สถานที่สำคัญ
แผนที่ อบต.

โครงสร้างองค์กร
คณะผู้บริหารอบต.
สมาชิกสภาอบต.
พนักงานส่วนตำบล
สำนักปลัด อบต.
หน่วยตรวจภายใน
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา ศาสนาฯ
กองสาธารณสุขฯ

กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัคร อสม.
อาสาสมัคร อปพร.
กองทุนหมู่บ้าน(กทบ)

ข้อบัญญัติตำบลนางบวช
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนดำเนินการประจำปี
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
แผนปฎิบัติงานอื่นๆ
แผนปฎิบัติงานKM
การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
การพัฒนาบุคลากร
การประเมินการปฎิบัตราชการ
การให้คุณให้โทษและ
    สร้างขวัญกำลังใจ

รายงานการเงินประจำปี
รายงานการเงินประจำไตรมาส
รายงานการเงินประจำเดือน
รายงานการประเมินผลแผน
รายงานการจัดเก็บรายได้
รายงานการปฏิบัติงานอื่นๆ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ
    (Open Data)

ระเบียบกฏหมายที่ควรรู้
แบบฟอร์มติดต่อราชการ
แบบฟอร์มคำร้องทั่วไป
แบบวัดความพึงพอใจ
สายตรงนายก
แสดงความคิดเห็นของประชาชน
ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์
ศูนย์ร้องเรียนการทุจริต
ช่องทางร้องเรียนในการ
   บริหารทรัพยากรบุคคล
   ของอบต.นางบวช

ผู้ดูแลระบบ
 
เฟสบุ๊คอบต.นางบวช
สถจ.สุพรรณบุรี
กรมจัดหางาน
ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
กกต.สุพรรณบุรี
Visited :
เริ่มนับตั้งแต่
วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2565
หน้าหลัก ข่าว กิจกรรม สินค้า OTOP กระดานสนทนา ท่องเที่ยว ติดต่อ อบต.
 
 
 
     
 
 

สภาพทั่วไป
        องค์การบริหารส่วนตำบลนางบวชเป็นหน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่นจัดตั้งตามพระราชบัญญัติ
สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 19 มกราคม
2539 และดำเนินการตามอำนาจหน้าที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมาย เพื่อบริการประชาชนและ
พัฒนาท้องถิ่นให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

จำนวนหมู่บ้าน
ตำบลนางบวชมีหมู่บ้านทั้งหมดจำนวน 10 หมู่บ้าน
มีหมู่บ้านที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ องค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช จำนวน 6 หมู่บ้าน คือ
หมู่ที่ 3 บ้านไร่
หมู่ที่ 6 บ้านท่านางเริง
หมู่ที่ 7 บ้านเกาะคู
หมู่ที่ 8 บ้านท่ามะนาว
หมู่ที่ 9 บ้านคันคลองกระเสียว
หมู่ที่ 10 บ้านไร่ดอนกลาง

อยู่ในเขตรับผิดชอบของ เทศบาลตำบลนางบวช จำนวน 4 หมู่บ้าน คือ
หมู่ที่ 1 บ้านสำเภาล่ม
หมู่ที่ 2 บ้านกระพ้น
หมู่ที่ 3 บ้านนางบวช
หมู่ที่ 4 บ้านท่านางเริง

ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลนางบวชตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 10 บ้านไร่ดอนกลาง ซึ่งเป็นที่ทำการสร้างขึ้นใหม่
เมื่อปี พ.ศ.2542 อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเดิมบางนางบวชประมาณ 5 กิโลเมตรสามารถเดินทางติดต่อ
ได้โดยใช้เส้นทางถนนสายสุพรรณบุรี - ชัยนาถ และห่างจากจังหวัดสุพรรณบุรีประมาณ 44 กิโลเมตร
การติดต่อโดยใช้เส้นทางสายสุพรรณบุรี - ชัยนาถ

อาณาเขตติดต่อกับตำบลใกล้เคียง ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระ
อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่เทศบาลตำบลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ของเทศบาลตำบลเขาดิน
และองค์การบริหารส่วนตำบลยางนอน อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลกระเสียว อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี


ขนาดพื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 43.26 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
27,287 ไร่

ภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช เป็นพื้นที่ราบลุ่มมีพื้นดินที่อุดมสมบูรณ์
เหมาะแก่การทำนา ส่วนใหญ่ ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ มีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่านหมู่ที่ 3,6,10 มีคลองท่ามะนาว
ไหลผ่าน หมู่ที่ 7,8 มีคลองกระเสียวไหลผ่านหมู่ที่ 9 และในเขตพื้นที่หมู่ที่ 7,8 มีเนินเขาเตี้ย ๆ สลับกับพื้นที่ราบ มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกเส้นทางหลักคือถนนสายสุพรรณบุรี - สิงห์บุรี เริ่มจากอาณาบริเวณ
ตอนกลางของตำบลไปสิ้นสุดอาณาเขตของตำบลทางทิศตะวันออก มีถนนเลียบคันคลองชลประทานสาม
ชุกและทางเชื่อมผ่านหมู่ที่ 3,6,9,10 ทำให้การคมนาคมสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีถนนลูกรังเชื่อม
ระหว่างหมู่บ้านในเขตตำบล และตำบลใกล้เคียงประชาชนสามารถไปมาหาสู่กันได้ การขนส่งพืชผลทางการเกษตรสะดวก รวดเร็ว

ประชากร
ตารางแสดงข้อมูลจำนวนประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช

หมู่ที่/บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร

ชาย

หญิง

รวม

หมู่ที่ 3 บ้านไร่

148

249

245

494

หมู่ที่ 6 บ้านท่านางเริง

197

257

252

509

หมู่ที่ 7 บ้านเกาะคู

282

430

449

879

หมู่ที่ 8 บ้านท่ามะนาว

147

196

208

404

หมู่ที่ 9 บ้านคันคลองกระเสียว

87

107

108

215

หมู่ที่ 10 บ้านไร่ดอนกลาง

213

305

355

660

รวม

1,074

1,544

1,617

3,161


ที่มา : งานทะเบียนราษฎรอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี (ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2562) 
         จากข้อมูลและสถิติประชากรตามทะเบียนราษฎรจนถึงวันที่ 12 มิถุนายน 2562 ตำบลนางบวช
(เฉพาะในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช) มีจำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น 3,161 คน แยกเป็น
ชาย 1,544 คน หญิง 1,617 คน ความหนาแน่นของประชากรโดยเฉลี่ย 73.06 คน/ตารางกิโลเมตร

อาชีพ
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวชส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยทำนาและทำไร่อ้อยเป็นอาชีพหลัก

ส่วนอาชีพรองลงมา คือ

การทำสวนผลไม้ และเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงไว้เพื่อบริโภค ภายในครอบครัว
และนำบางส่วนมาจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริม

หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช

ธนาคาร

-

 แห่ง
โรงแรม

-

 แห่ง
ปั๊มน้ำมัน

-

 แห่ง
โรงสีข้าว

-

 แห่ง
ร้านอ๊อค,เชื่อม,กลึง

1

 แห่ง
ร้านค้า

26

 แห่ง
ร้านตัดผมชาย

2

 แห่ง
อู่ซ่อมรถยนต์

2

 แห่ง
ร้านเสริมสวย

-

 แห่ง
อู่ซ่อมรถจักรยานยนต์  

  1  

 แห่ง
อู่ซ่อมรถไถนา

1

 แห่ง
ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า

1

 แห่ง
ตลาดนัด

1

 แห่ง

การศึกษาในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

1

 แห่ง
 - โรงเรียนประถมศึกษา

1

 แห่ง
 - โรงเรียนมัธยมศึกษา

-

 แห่ง
 - โรงเรียนอาชีวศึกษา

-

 แห่ง
 - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน  

 4 

 แห่ง
 - ศูนย์เทคโนโลยีประจำตำบลนางบวช

1

 แห่ง


สถาบันและองค์กรทางศาสนา

 - วัด/สำนักสงฆ์    2  แห่ง
 - มัสยิด  -  แห่ง
 - ศาลเจ้า  -  แห่ง
 - โบสถ์คริสต์  -  แห่ง

สาธารณสุข

- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล   1   แห่ง

- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100


ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
 - รถยนต์กู้ภัย   1 คัน

การ
คมนาคม
การคมนาคมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวช แยกเป็น 2 ประเภท คือ
1. หมู่ที่ 3,6 และ 10 เป็นหมู่บ้านที่ติดต่อกับเส้นทางหลัก การคมนาคมติดต่อระหว่างอำเภอ และจังหวัดอยู่ในเกณฑ์ที่สะดวก
2. หมู่ที่ 7,8 และ 9  ถนนสายหลักที่เชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านส่วนมากมีสภาพเป็นถนนลูกรัง/หินคลุก และบางส่วนเป็นถนนลาดยาง การคมนาคมติดต่อระหว่างอำเภอและจังหวัดอยู่ในเกณฑ์ที่สะดวกอาจจะมีความลำบากในช่วงฤดูฝนเนื่องจากถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ และในหมู่ที่ 9 เมื่อถึงฤดูฝนเกิดฝนตกติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดน้ำท่วมขังซ้ำซากเนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มต่ำ การระบายน้ำไม่สะดวกสร้างความเสียหายแก่เส้นทางคมนาคม และการเกษตรกรรม

การไฟฟ้า
 - ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนางบวชมีไฟฟ้าเข้าถึงทั่วทุกหมู่บ้าน
 - จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า 100%

การโทรคมนาคม
 - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
 - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ   - แห่ง
 - โทรศัพท์สาธารณะ        7 แห่ง

แหล่งน้ำธรรมชาติ
 - แม่น้ำ (แม่น้ำท่าจีน) 1 สาย
 - ลำห้วย,ลำคลอง     2 สาย
 - คลองชลประทาน  - สาย

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
 - ฝาย,อ่างเก็บน้ำ 1 แห่ง
 - บ่อน้ำตื้น 2 แห่ง
 - บ่อโยก  7  แห่ง
 - ประปาหมู่บ้าน 6 หมู่บ้าน (ครบทุกหมู่บ้าน)
 - บ่อกักเก็บน้ำ  3 แห่ง
 - อื่น ๆ (สระน้ำ)2 แห่ง

ทรัพยากรในพื้นที่
 - แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 3,6 และ 10
 - หนองตะล้าน หากมีการขุดลอกและปรับปรุงภูมิทัศน์ใหม่จะมีความอุดมสมบูรณ์และสวยงามเหมาะสม
ที่จะเก็บกักน้ำไว้ใช้ยามขาดแคลน และขยายพันธุ์สัตว์น้ำ
 - คลองจระเข้ตาย มีการขุดลอกเพื่อกักเก็บน้ำจากแม่น้ำท่าจีนไว้ใช้ในการเกษตรกรรม

มวลชนจัดตั้ง
 - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
 - อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
 - อาสาสมัครพัฒนาชุมชน (อช.)
 - ลูกเสือชาวบ้าน (ลสชบ.)
 - กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.)
 - อาสาสมัครตำรวจชุมชน
 - อาสาสมัครทีมกู้ภัย